หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
พิธีถวายโล่ประกาศเกียรติคุณแด่หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ในวันคุ้มครองโลก
97 รางวัล กว่า 40 ประเทศทั่วโลก โล่ประกาศเกียรติคุณ เหล่านี้เป็นพยานที่ประจักษ์สายตาชาวโลก ว่า หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายทำทุกกิจกรรม เพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนา เพื่อสร้างคนดีให้เกิดในสังคม สร้างสันติภาพให้เกิดไปทั่วโลก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๙)
เมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผู้เขียนและคณะได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมทางวิชาการและร่วมพิธีฉลองการเปิดอาคารอเนกประสงค์ของวัดต้าฝอซื่อ ที่เมืองกว่างโจวสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจัดโดยภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น ร่วมกับวัดต้าฝอซื่อ
มาฆบูชา พุทธมหาสันนิบาต ตอน ทั่วโลกรวมใจ แสวงบุญใหญ่ที่วัดพระธรรมกาย
ทุกๆ ปี ชาวพุทธจากทั่วโลกจะบินข้ามน้ำข้ามทะเลมาร่วมงานวันมาฆบูชาที่วัดพระธรรมกายกันอย่างมากมาย ปีนี้ก็เช่นเดียวกันสำนักต่างประเทศ กององค์กรระหว่างประเทศรายงานว่าตอนนี้มีแขกอาคันตุกะที่แจ้งความจำนงจะมาร่วมงานเป็นพระภิกษุหลากนิกายกว่า 300 รูป และฆราวาสอีก3,000 กว่าคนจาก 30 ประเทศทั่วโลก
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้